น้ํา ยา ล้าง ยางมะตอย โลตัส

การ พัฒนาการ สอน ภาษา ไทย

  1. Voathai
  2. ล่าสุด

สอนสระ พยัญชนะ ให้บอกชื่อ ออกเสียง และเขียน ให้ถูกต้องจะสอนครบทุกตัวทันทีหรือจะสอนบางตัวโดยเริ่มจากพยัญชนะที่เด็กได้พบก่อนแล้วค่อยเพิ่มขึ้นจนครบทุกตัวแล้วนำมาเรียงลำดับให้ถูกต้องในภายหลังก็ได้ 2. สอนคำ ให้อ่าน – เขียน ให้ถูกต้องรู้ความหมาย 3. สอนประโยค ให้อ่าน เขียน ให้ถูกต้องรู้ความหมายและใช้คำเรียงประโยคได้ถูกต้องทั้งในการพูดและการเขียน 4. สอนแจกลูก ให้สามารถจับหลักเกณฑ์วิธีออกเสียงผสมพยัญชนะกับสระ เพื่อนำไปใช้ในการอ่านและเขียนคำที่ต้องการได้ 5. สอนฝันให้สามารถจับหลักเกณฑ์วิธีออกเสียง ผันวรรณยุกต์ เพื่อนำไปใช้ในการอ่านและการเขียนคำที่ต้องการได้ 6. สอนการใช้ภาษาไทย ให้สามารถใช้ภาษาไทยสื่อความหมายแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกทั้งการพูด และการเขียนได้ถูกต้องทั้งสะกดตัวและความหมายได้ดี ตามวัยและระดับชั้นเช่น ในการอภิปราย เล่าเรื่อง แต่งความ จดหมาย เป็นต้น การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยมิได้มุ่งเพียงการอ่านออกเขียนได้แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่เน้นที่ผลสัมฤทธิ์ของทักษะความเข้าใจภาษา คือการฟังและการอ่าน ทักษะการใช้ภาษาคือการพูดและการเขียน จนสามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อความคิด ความเข้าใจ การหาเหตุผล แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ จึงควรยึดแนวการสอนดังนี้ 1.

Voathai

  • ซีรีส์หลากหลายครบรส คมชัดระดับ HD ติดตามได้ที่ช่อง PPTVHD หมายเลข 36 : PPTVHD36
  • ตลาดนัดขาย รถโบราณทุกชนิด รถคลาสสิค และของเก่า ของสะสม สินค้าแนววินเทจ
  • พระกรุ : พระชัย หมุดทอง
  • วี ออ ส 2014 ตัว g
  • TOYO เปิดตัว Open Country R/T ยาง SUV รุ่นใหม่ล่าสุด - motortrivia
  • การ พัฒนาการ สอน ภาษา ไทย ป
  • ใครอยากกู้เงิน!ตรวจเช็คได้ "แบงก์ชาติ" เปิดรายชื่อ แบงก์-Non Bank อนุญาตปล่อยสินเชื่อถูกกม. สยามรัฐ
  • ร ร ประถม ก ทม
  • หางานแม่บ้านขอนแก่น
  • ชั้น วาง ทีวี หมุน ได้
  • ฮย็องว็อน - วิกิพีเดีย

ฟังได้ พูดได้ อ่านได้ เขียนได้ ๒. ฟังเป็น พูดเป็น อ่านเป็น เขียนเป็น ๓.

เลือกใช้วิธีที่เหมาะสมหลาย ๆ วิธีตลอดจนการใช้สื่อการเรียนที่มีประสิทธิภาพเพื่อมิให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย(สุชาดา วัยวุฒิ. 2529:64-65) ประดินันท์ อุปรนัย (2529:25) ได้กล่าวถึงการสอนภาษาไทยว่า การสอนภาษาไทยจะไม่มุ่งสอนทักษะใดทักษะหนึ่งเพียงทักษะเดียว แต่จะสอนให้นักเรียนมีโอกาสพัฒนาทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้านไปพร้อม ๆ กันโดยอาจเน้นทักษะใดทักษะหนึ่งในการสอนครั้งหนึ่ง ๆ มากกว่าทักษะอื่น ๆ ได้นอกจากนี้กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ(2535: ก-จ) ยังได้แนะนำแนวทางการสอนภาษาไทย ระดับประถมศึกษาไว้หลายวิธีดังนี้ 1.

การสอนภาษาไทยให้สอดคล้องกับการใช้ภาษาในชีวิตนำภาษาที่ผู้เรียนพบเห็นและใช้อยู่ในสถานที่ต่าง ๆ เช่น ที่บ้านที่โรงเรียน ตลาด ชุมชน ภาษาจากวิทยุ โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์เป็นต้น มาเป็นสื่อในการเรียนรู้เพื่อที่ผู้เรียนจำนำความรู้ ทักษะ และเจตคติที่ได้รับๆปใช้ให้เกิดผลสำเร็จในชีวิต 2. สอนทักษะทั้งสี่ ให้สัมพันธ์กันทั้งการฟัง พูด อ่าน และเขียน ซึ่งเป็นกระบวนการการใช้ภาษาที่ถูกต้อง แต่อาจจะแยกย่อยออกฝึกฝนแต่ละทักษะในกรณีการสอนซ่อมเสริมได้ 3. ฝึกฝนให้เรียนรู้ด้วยความเข้าใจมากกว่าการท่องจำ เน้นการฝึกฝนจนเกิดความคิดรวบยอดสามารถสรุปหลักเกณฑ์ได้ด้วยตนเอง 4. ฝึกฝนให้ผู้เรียนค้นคว้าหาความรู้และเรียนด้วยตนเองให้มากโดยมีครูคอยแนะนำ ทั้งนี้เพื่อปลูกฝังนิสัยใคร่รู้ ใคร่เรียน และแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง 5. จัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้สนุกสนาน น่าสนใจเพื่อให้ผู้เรียนเกิดไม่เกิดความเบื่อหน่ายในการฝึกฝนบ่อย ๆ และซ้ำ ๆทั้งยังเป็นการปลูกฝังความรักในการเรียนภาษาไทยอีกด้วย 6. ฝึกให้เป็นคนช่างคิด ช่างสังเกต การใช้ภาษาที่พบเห็นในที่ต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยให้เกิดความคิดและมีประสบการณ์กว้างขวางยิ่งขึ้น 7. ในการฝึกทักษะ ถ้าครูพบข้อบกพร่องควรหาสาเหตุและแก้ไขให้ถูกจุดและทันเวลา การสอนซ่อมเสริมเป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับผู้ที่อ่อนในทางทักษะ 8.

ล่าสุด

ครู - จัดการเรียนการสอนได้อย่างเป็นระบบ - ผลงานได้ทำการเผยแพร่และมีครูนำไปใช้ ได้รับการตอบรับ ชมเชย - สื่อทีผลิตเป้นที่ยอมรับของ สพท. พังงา ได้ประกาศให้ใช้เป็นสื่อในเขตพื้นที่ และได้นำไปจดสิทธิบัตรกับกรมทรัพย์สินทางปัญญาเป็นที่เรียบร้อย - ได้รับรางวัลจากการพัฒนานวัตกรรมระดับ ดีเยี่ยม ครูดีในดวงใจ - ได้รับเกียรติบัตร จาก สพฐ. ในโครงการทางเลือกใหม่ของเด็กไทย ๓. โรงเรียน - มีชื่อเสียงทำให้มีนักเรียนมาเข้าเรียนในชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ เพิ่มขึ้นทุกปี - ได้รับคัดเลือกให้จัดทำรายการครูค้นครู ของสำนักพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา(ไร่ขิง) หมายเลขบันทึก: 191184 เขียนเมื่อ 29 มิถุนายน 2008 14:44 น. () แก้ไขเมื่อ 12 กุมภาพันธ์ 2012 00:47 น. () สัญญาอนุญาต: ความเห็น (0) ไม่มีความเห็น หน้าแรก สมาชิก วิไลวรรณ สมุด นวัตกรรมของฉัน การพัฒนาการเรียนก... พบปัญหาการใช้งานกรุณาแจ้ง LINE ID @gotoknow ขอแนะนำ ClassStart ระบบจัดการการเรียนการสอนผ่านอินเทอร์เน็ต ทั้งเว็บทั้งแอปใช้งานฟรี

– วิเคราะห์สาเหตุให้ได้ว่าทำไมนักเรียนจึงมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาษาไทยไม่ถึงครึ่ง – ทำไมนักเรียนรุ่นหลังๆ ใช้ภาษาที่ผิดพลาด ไม่ถูกต้อง ฟุ่มเฟือย ทำให้ไม่เข้าใจ หรือเข้าใจผิดในการสื่อสาร ต่อกัน ตีความคำพูดผิด – หาให้ได้ว่าปัญหาการสอนภาษาที่ได้ผลสำเร็จน้อยนั้น แท้จริงอยู่ที่ใด ใครเป็นผู้ควรรับผิดชอบ หลักสูตร, หนังสือแบบเรียน โรงเรียน, ครู, กระทรวงศึกษาธิการ พ่อแม่, ผู้ปกครอง นักเรียน สังคม, สื่อมวลชน ครู และสังคมต้องช่วยกันทำให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ และความสามารถในการใช้ภาษาอย่างแท้จริง ………………………. ถ้าทำได้ นักเรียนจะเปลี่ยน… จาก ภาษาใจ สู่ ภาษาพูดและภาษาเขียน ที่สะท้อนความคิด ความรู้สึก ความต้องการของตัวเองได้ชัดเจน จากการฟังและการพูดตามใจฉัน เป็น การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพรับผิดชอบ จากการที่ได้แต่ความรู้เนื้อหาเรื่องราว เป็น ความเข้าใจในกระบวนการใช้ภาษา และสามารถใช้ภาษาได้ดี จากการมัวแต่รอพึ่งผู้อื่นให้ เช่น ครู เป็น การเรียนรู้และสร้างองค์ความรู้ด้วยตัวเองจากเข้าใจภาษาได้ดีขึ้น จากการท่องจำและทำซ้ำๆ เป็น การค้นพบ และพัฒนาภาษา จากรอทำตามคำสั่ง เป็น อยาก เรียนด้วยตนเอง ………………………… การเรียนรู้ภาษาที่ควรจะเป็น ครูต้องยกระดับการสอนภาษาให้ได้ ๓ ระดับ ๑.

การสอนภาษาไทยโดยใช้หนังสือเรียน วิธีสอนนี้ฝึกหนังสือรัยนเป็นหลัก มีขั้นตอนในการสอนดังนี้ ขั้นที่ 1 นำเข้าสู่บทเรียน และทบทวนประสบการณ์พื้นฐานการเรียนแก่ผู้เรียนด้วย เพื่อเชื่อมโยงประสบการณ์เก่ากับประสบการณ์ใหม่ในบทเรียน ขั้นที่ 2 สอนคำใหม่ทบทวนคำเก่า ขั้นที่ 3 บอกจุดประสงค์ของการอ่านให้นักเรียนทราบ เช่น อ่านเพื่อเขียนเล่าเรื่อง ขั้นที่ 4 อ่านในใจและอ่านออกเสียงโดยครูแนะนำวิธีการอ่าน และให้นักเรียนฝึกอ่านออกเสียงเป็นกลุ่มและรายบุคคล ครูแก้ไขข้อบกพร่องในการอ่าน ขั้นที่ 5 จัดกิจกรรมฝึกฝนทักษะทางภาษา เช่น เกมทางภาษา ทำแบบฝึกหัด และกิจกรรมต่าง ๆ ตามที่ครูกำหนดในคู่มือครู 3. การสอนภาษาไทยโดยใช้วิธีการทางหลักภาษา เป็นการสอนสะกดคำ แจกลูก ผันอักษร โดยเริ่มจากให้เด็กรู้จักเสียงพยัญชนะ สระ และจำรูปพยัญชนะ สระให้ได้เสียก่อนจึงนำมาสะกดคำและแจกลูก มีขั้นตอนการสอนดังนี้ ขั้นที่ 1 ฝึกสะกดคำให้คล่อง ขั้นที่ 2 สังเกตการวางพยัญชนะ สระขงคำ แล้วฝึกสะกด ขั้นที่ 3 สอนความหมายของคำโดยใช้ภาพ หรือทำท่าทางประกอบ ขั้นที่ 4 นำคำที่สะกดแล้วมาอ่านเป็นคำโดยไม่ต้องสะกดคำใดอ่านไม่ได้ให้ใช้การสะกดช่วย โดยให้นักเรียนเขียนตามคำบอกจนจำได้ ขั้นที่ 5 นำคำที่อ่านได้แล้วมาใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้ง ฟัง พูด อ่านและเขียน โดยเน้นการอ่านและเขียน บ่อย ๆ 4.

ศึกษาหลักสูตร ๒. ศึกษาวิธีการสอน:- กรมวิชาการ(แบบใช้หนังสือเรียน)สปช. (แบบมปภ)และ อาจารย์บันลือ พฤกษะวัน ๓. สังเคราะห์เป็นขั้นตอนการสอน ๖ขั้น ประสานทักษะ คือ ขั้นที่ ๑ เรียนรู้จากเรื่อง ขั้นที่ ๒ ปราดเปรื่องการอ่าน ขั้นที่ ๓ ฉะฉานเรื่องคำ ขั้นที่ ๔ สำเนียงเสียงดัง ขั้นที่ ๕ รวมพลังฝึกการใช้ภาษา ขั้นที่ ๖ สรรหาผลงาน ๔. จัดทำสื่อประกอบขั้นตอนการสอน ๑. หนังสือส่งเสริมการอ่าน เรื่อง ตามาหาหลาน ๒. แผนภูมิเรื่องสั้น ๓. แผนภูมิคำ ๔. แบบฝึกทักษะการอ่านและเขียน (คำไม่มีตัวสะกด และมีตัวสะกด) ๕. แบบฝึกทักษะด้วยตนเอง ๖. แบบฝึก ชุด ทศพักตร์ ๕. จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ตลอดปีการศึกา ๖. ปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ/ปรับปรุงแก้ไข ๗. นำไปใช้และปรับปรุง ๘. นำไปใช้จริง ๙. จัดทำเป็นคู่มือครู ๑๐. รายงานผลการใช้ ๑๑. นำกระบวนการสอน ดังกล่าวไปใช้กับนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ผลที่ได้รับ ๑. นักเรียน - มีการพัฒนาทักษะด้านการอ่านและเขียนได้ดี - มีผลงานที่แสดงให้เห็นชัดเจนตามศักยภาพของผู้เรียน - มีความสุขสนุกสนานในขณะเรียน - มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เช่น ขยัน ใฝ่รู้ กล้าแสดงออก - มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรีบยนสูงกว่าเป้าหมายของโรงเรียน ๒.

2532: 76) ดังนั้นการศึกษาวิชาภาษาไทยจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับคนในชาติของเรา ซึ่งวรรณี โสมประยูร (2534: 28) ได้สรุปความสำคัญของการสอนภาษาไทยไว้ตอนหนึ่งว่า มนุษย์ได้ใช้ทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียน เป็นเครื่องมือในการศึกษาความรู้ เพื่อประกอบอาชีพ พัฒนาบุคลิกภาพและสร้างเสริมคุณภาพชีวิตในด้านอื่น ๆ เพราะคนเราได้รับความรู้ ความคิดต่าง ๆ จากการฟัง การอ่าน แล้วการเขียนบันทึกไว้เพื่อพูดหรือเขียนถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจอีกทอดหนึ่ง การเขียนของนักเรียนที่อ่อนภาษาจึงทำให้อ่อนวิชาอื่น ๆ ด้วย ด้วยความตระหนักถึงความสำคัญของภาษาไทยกระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดให้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ. ศ. 2533) ได้บรรจุวิชาภาษาไทยให้อยู่ในกลุ่มทักษะที่เป็นเครื่องมือการเรียนรู้และได้กำหนดจุดประสงค์ของการสอนภาษาไทยไว้ดังนี้ 1. มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยมีความรู้ความเข้าใจหลักเกณฑ์อันเป็นพื้นฐานของการเรียนภาษา 2. สามารถใช้ภาษาติดต่อทั้งการรับรู้และถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดอย่างมีประสิทธิภาและสัมฤทธิผล 3. สามารถใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลตลอดจนสามารถใช้ภาษาในเชิงสร้างสรรค์ได้ 4. มีนิสัยรักการอ่าน รู้จักเลือกหนังสืออ่านและใช้เวลาว่างในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากหนังสือ สื่อมวลชน และแหล่งความรู้อื่น ๆ 5.

October 31, 2021, 6:23 pm