น้ํา ยา ล้าง ยางมะตอย โลตัส

สรีรวิทยา การ กีฬา Sport Physiology - Sport Science: ความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร์การกีฬา

  1. Summary of GS317713 : สรีรวิทยาของการออกกำลังกายและการกีฬา

ความหมายและความสำคัญของวิทยาศาสตร์การกีฬา วิทยาศาสตร์การกีฬา: เป็นวิทยาศาสตร์ประยุกต์ที่นำเอาศาสตร์ในสาขาต่าง ๆ เช่น ฟิสิกส์ แคลคูลัส เคมี สรีรวิทยา จิตวิทยา เป็นต้น มาประยุกต์เพื่อพัฒนาความสามารถในเชิงกีฬาและเพื่อสุขภาพ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถทางการกีฬาของนักกีฬา 1. ลักษณะทางกายของนักกีฬา ได้แก่ การมีโครงสร้างสรีระสัดส่วน และรูปร่างที่เหมาะสมในแต่ละชนิดกีฬา (Physical capacity) 2. การมีเทคนิคที่ถูกต้องเหมาะสมในแต่ละชนิดกีฬาและสิ่งที่ต้องได้รับการพัฒนา (Biomecchanics) 3. ระดับของสมรรถภาพทางกายที่เหมาะสมกับแต่ละชนิดกีฬา (Physiology capacity) 4. ปัจจัยทางด้านจิตใจ (Psychological make-up) ของนักกีฬาในการที่จะควบคุม รักษาและพัฒนา 5. เจตคติในการฝึกฝนของนักกีฬา 6. การโอกาสในการเข้าร่วมการแข่งขันกับนักกีฬาอื่นที่มีความสามารถใกล้เคียงกันหรือสูงกว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความสามารถทางการกีฬาของนักกีฬา (ทางอ้อม) 1. ปัจจัยทางโภชนาการ 2. ปัจจัยของการพักผ่อน 3. สภาพแวดล้อม ดินฟ้า อากาศ สนาม อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก ขอบข่ายของวิทยาศาสตร์การกีฬา 1. ชีวกลศาสตร์การกีฬา (Sport Biomechanics) 2.

Summary of GS317713 : สรีรวิทยาของการออกกำลังกายและการกีฬา

Psychological techniques and strategies facilitation athletic peak performance. ) (183231 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา 183281 เทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา Sports Science Technology ความหมาย ความสำคัญและบทบาทของเทคโนโลยี เพื่อการฝึกซ้อมและการแข่งขันกีฬา การประยุกต์ใช้เครื่องมือที่เกี่ยวกับสรีรวิทยาการออกกำลังกาย จิตวิทยาการกีฬาชีวกลศาสตร์การกีฬา โภชนศาสตร์การกีฬา กีฬากับการแพทย์และการทดสอบเพื่อพัฒนาศักยภาพทางกีฬา มีการศึกษานอกสถานที่ (Definition, importance, and roles of technology for sport training and competition. Application of sport science technology in the field of sports physiology, sports psychology, sports biomechanics, nutrition in sport, sports medicine, and sport testing instruments for developing sport performance. ) (183281 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์)

สรีรวิทยาการออกกำลังกาย (Exercise Physiology) 3. จิตวิทยาการกีฬา(Sport Psychology) 4. เวชศาสตร์การกีฬา (Sport Medicine) 5. โภชนาการการกีฬา(Sport Nutrition) ชีวกลศาสตร์การกีฬา ชีวกลศาสตร์ เป็นการศึกษาการเคลื่อนไหวของสิ่งที่มีชีวิต (มนุษย์) เกี่ยวข้องกับเรื่องของแรงอันเป็นสาเหตุทำให้เกิดการเคลื่อนไหว ผลของแรงที่ทำให้เกิดการเคลื่อนไหว ตัวแปรที่สำคัญ ได้แก่ ตำแหน่ง ระยะทาง ความเร็วและความเร่ง ทั้งเชิงเส้นและเชิงมุม เพื่อนำไปพัฒนา ปรับปรุง การเคลื่อนไหวให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บทบาทของชีวกลศาสตร์การกีฬา ช่วยในการตรวจสอบแรงและตัวแปรที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนไหว เช่น มุม ระยะทาง ความเร็ว ความเร่ง โมเมนตัม ช่วยในการปรับแต่งการเคลื่อนไหวที่ละเอียดอ่อน (microtuning) ให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 3.

Basic knowledge in mechanics, thermodynamics in relation to biomechanics in sport. ) (183114 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) สถิติประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์การกีฬา 183115 สถิติประยุกต์ทางวิทยาศาสตร์การกีฬา Application statistics for Sports Science ความหมาย ความสำคัญ แนวความคิดเกี่ยวกับวิชาสถิติที่ประยุกต์กับองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์การกีฬา สเกลการวัด การวัดแนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง ตัววัดการกระจาย กลุ่มตัวอย่างและการสุ่มตัวอย่าง ความน่าจะเป็นของตัวแปร การแจกแจงปกติ การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ การวิเคราะห์ความแปรปรวน การนำข้อมูลทางสถิติไปใช้ทางวิทยาศาสตร์การกีฬา (Definition, importance and concepts of applied statistics in sports science. The usage of scale, measures of central tendency, variables probability, shapes of frequency distribution, sample and random sampling methods, hypothesis testing, the usage of analysis of variance and data application for sports science. ) (183115 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) พื้นฐานกายวิภาคศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์การกีฬา 183121 พื้นฐานกายวิภาคศาสตร์ทางวิทยาศาสตร์การกีฬา Anatomical Basis in Sports Science ความรู้เบื้องต้นแบบบูรณาการเกี่ยวกับร่างกายมนุษย์ ซึ่งประกอบด้วยระบบโครงร่างระบบกล้ามเนื้อ ระบบประสาท โครงสร้างทางกายวิภาคที่เกี่ยวข้องกับการกีฬา มีการศึกษานอกสถานที่ (Integrated basic knowledge on human body including skeletal, muscles and nervous systems.

สรีรวิทยา (Physiology) หมายถึง การศึกษาหน้าที่การทำงานของอวัยวะต่างๆ ที่มีชีวิตในร่างกายมนุษย์ การออกกำลังกาย (Exercise) หมายถึง การทำงานของกล้ามเนื้อลาย เพื่อให้ร่างกายเกิดการเคลื่อนไหวตามความมุ่งหมาย โดยมีการทำงานของระบบต่างๆช่วยสนับสนุน ส่งเสริมให้การออกกำลังกายมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น สรีรวิทยา การออกกำลังกาย (Physiology of Exercise) จึง หมายถึง ศาสตร์สาขาหนึ่งที่ศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงของระบบต่างๆที่ตอบสนอง (Response) หรือปรับตัว (Adaptation) ต่อการออกกำลังกายในสภาวะต่างๆ การออกกำลังกาย (Exercise) แบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ คือ 1. การออกกำลังกายแบบเฉียบพลัน เป็นการออกกำลังกายเพียงครั้งเดียว 2. การออกกำลังกายทุกวันหรือเป็นเดือน โดยกระทำซ้ำๆกัน หวังผลการฝึกเพื่อความแข็งแรง หรือสมรรถภาพเพื่อการแข่งขัน เป็นต้น สรีรวิทยา การออกกำลังกาย (Physiology of Exercise) จะศึกษาเกี่ยวกับ 1. กลไกการตอบสนองและการปรับตัวต่อการออกกำลังกายและการฝึกซ้อม 2. การเปลี่ยนแปลงของระบบประสาท 3. การเปลี่ยนแปลงของระบบกล้ามเนื้อ 4. การเปลี่ยนแปลงของระบบต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม 5. การเปลี่ยนแปลงของระบบหายใจ - ไหลเวียนเลือด 6.

  • สรีรวิทยา การ กีฬา sport physiology pantip
  • "การนำวิทยาศาสตร์การกีฬามาประยุกต์ใช้ในการฝึกกีฬาซ
  • Smile Co Dental Clinic สาขา
October 31, 2021, 11:07 pm